ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

NGN(Next Generation Network)


Next Generation Network (NGN) คืออะไร

Next Generation Network (NGN) ถือว่าเป็นการปฏิวัติสถาปัตยกรรมโครงข่ายโทรคมนาคมหลัก (Telecommunications Core
network) ตลอดจนกระบวนวิธีเข้าถึงโครงข่าย (Access Network) ซึ่งจะค่อยเริ่มแปรขบวนเปลี่ยนแปลงโครงข่ายโทรคมนาคมทั่วโลก
จากระบบอนาลอกไปสู่โลกแห่งยุคดิจิทัล ใน 5-10 ปี ข้างหน้านี้

ย่อให้เข้าใจได้ง่ายว่า โครงข่ายโทรคมนาคมในอนาคต (NGN) จะไม่แยกเป็นโครงข่ายเทคโนโลยีนั้น เทคโนโลยีนี้ คือไม่เรียกว่านั่นคือ 
โครงข่ายโทรศัพท์บ้าน นั่นคือโครงข่ายโทรศัพท์มือถือ นั่นคือโครงข่ายวิทยุสื่อสาร แต่จะเรียกกันรวมเป็นหนึ่งโครงข่ายโทรคมนาคม
โดยข้อมูลที่ใช้สำหรับการสื่อสารทุกชนิดในโลก ทั้ง การสนทนาเสียง ภาพนิ่ง 
ภาพเคลื่อนไหว ข้อมูล เป็นต้น จะถูกแปลงเป็นไฟล์ดิจิทัลในรูปชุดข้อมูลแพ็กเก็ต
(Packet-Based Network) แบบ Internet Protocol (IP) 

พูดให้เข้าใจง่ายขึ้นก็คือ ลักษณะการส่งข้อมูลการใช้งานอินเทอร์เน็ตในปัจจุบันนั่นเอง
หรือเรียกกันทั่วไปว่าเป็นการสื่อสารแบบ IP เมื่อข้อมูลเป็นแพ็กเก็ต คนส่งและคนรับ
รู้ธรรมเนียมการแปลข้อมูลให้เข้าใจตรงกันได้แล้ว ไม่ว่าข้อมูลทุกประเภทส่งผ่าน 
เครือข่ายโทรศัพท์บ้าน โทรศัพท์มือถือ ดาวเทียม ใยแก้วนำแสง วิทยุ หรือโทรทัศน์ก็ตาม
ตลอดจนการควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นในบ้าน จะสามารถสื่อสารเข้าใจข้อมูลร่วมกันได้ 
และเกิดเป็นการหลอมรวมทางเทคโนโลยีต่อไป (Convergence of Technology) 
ในอนาคต  


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Spiral model

Spiral model Spiral model คือ Software Development Process หนึ่งที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยเอาจุดแข็งของ Development Model อื่นที่ดีอยู่แล้วมาประยุกต์ ( Waterfall Mode) ใช้ตีค่าความเสี่ยงที่เกิดเพื่อจะได้ทราบว่าจุดใดมีความเสี่ยงมากน้อยขนาดไหน จะได้หาวิธีลดความเสี่ยง ซึ่งความเสี่ยงเป็นสาเหตุ ที่ทำให้การพัฒนาไม่ประสบความสำเร็จ Spiral Model เป็นโมเดลที่ถูกพัฒนาขึ้นจาก Waterfall Model ที่มีการทำงานเป็นขั้นตอนหากในขั้นตอนแรกวิเคราะห์ความต้องการไม่ดี ไม่ชัดเจน ความเสี่ยงที่ระบบจะถูกพัฒนาไม่ตรงตามความต้องการของลูกค้าสูง กระบวนการนี้จึงนำเอาข้อดีของ Prototype มาผสมผสานให้เกิดคามชัดเจนและมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงในทุกชั้น ทำให้โอกาสที่ระบบจะล้มเหลวมีน้อยลง ตัวอย่างของ Waterfall Model หรือ The Linear Model ภายหลังถูกปรับเปลี่ยนเป็นรูปเเบบจําลองบันไดเวียน( Spiral model) เพราะเเบบเก่านั่นติดข้อจํากัดคือ ถ้าพบว่าขั้นตอนไหนผิดพลาดเเล้วตอนเสร็จกระบวนการทั้งหมด จะเเก้ไขไม่ได้เลย ต้องจําเป็นที่จะต้องเริ่มรอบใหม่( Iteration) อีกครั้งนั่นเอง               Spiral model จะมีลักษณะแบบก้นหอยเป็นวงๆชั้นๆ

ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในองค์กรทั่วไป

โปรแกรมประยุกต์ที่นิยมใช้ในงานธุรกิจ โปรแกรมประยุกต์ที่นิยมใช้ในงานธุรกิจ ซอฟต์แวร์ประยุกต์(application software)        เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบันมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออกจำหน่ายมาก การประยุกต์งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลาย เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่มคือ ซอฟต์แวร์สำเร็จ และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์สำเร็จในปัจจุบันมีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ฯลฯ          4.1 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป       ซอฟแวร์ประยุกต์ทั่วไป (general purpose software) เป็นซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อนำไปประยุกต์ใช้กับงานให้เหมาะสมกับลักษณะงานของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนอ เป็นต้น               1) ซอฟต์แวร์ประมวลคำ(word processing software) เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้สำหรับการพิมพ์เอกสาร สามารถแก้ไข เพิ่ม แทรก ลบ และจัดรูปแบบเอกสารได้อย่างดี เอกสารที่พิมพ์ไว้จัดเป็นแฟ้มข้อมูล เรียกมาพิมพ์หรือแก้ไขใหม่ได้ การพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ก็มีรูปแบบ

Overview of order fulfillment & Logistics

Overview of order fulfillment Order fulfillment หมายถึง การจัดหาสินค้าหรือบริการให้กับลูกค้าหลังได้รับการสั่งซื้อ ตรงตามเวลา Order fulfillment ถือเป็นส่วนหนึ่งของ back-office operation และสัมพันธ์อย่างมากกับส่วน front-office operation Back-office operation เช่น บัญชี สินค้าคงคลัง การจัดส่งเป็นต้น Front-office operation (หรือ customer-facing activities) เช่น การขายและโฆษณา เป็นต้น Overview of Logistics Logistics คือ กระบวนการในการวางแผน (planning) การนำไปใช้จริง (implement) การควบคุม (controlling) การไหล (flow) และ การจัดเก็บ (storage) ของสินค้าและงานบริการต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทั้งนี้รวมถึงสารสนเทศที่เกี่ยวข้องจากจุดเริ่มต้น (point of origin)ไปยังจุดที่เรียกใช้งาน (point of consumption) จุดมุ่งหมายก็เพื่อบรรลุถึงความต้องการของลูกค้า ตามนิยามนี้หมายรวมไปถึง inbound, outbound, internal และ external movement รวมไปถึงการส่งวัตถุดิบและสินค้ากลับคืน และ รวมไปถึง order fulfillment อีกด้วย ปัจจัยหลักของ order fulfillment คือ ทำการจัดส่งสินค้าหรืองานบริการให้ตรงเว