ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2017

S O A

Outsource & In-house

      Outsource ( การจ้างคนอื่น) หมายถึง การถ่ายทอดงานที่ไม่ใช่หัวใจสําคัญขององค์กรไปให้บริษัทอื่นที่เชี่ยวชาญในงานนั้นๆเป็นผู้รับผิดชอบ ข้อดี: 1.) ช่วยลดต้นทุนขององค์กร เช่น ต้นทุนด้าน Overhead cost ประเภท ค่าอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เเละ ค่าซอฟร์เเวร์          2.) คุณภาพงานที่ดีกว่า ทําให้สามารถดําเนินงานได้อย่างมีมาตรฐาน เเละคุณภาพสูงกว่าที่องค์กรของเราทําเอง          3.) ช่วยในการลดภาระงานที่ไม่ใช่หัวใจสําคัญ เพื่อมุ่งเน้น เเละพัฒนาฟังก์ชั่นที่เป็นหัวใจหลักขององค์กรให้เเข็งเเรงมากขึ้น ข้อเสีย: 1.) ข้อมูลอาจรั่วไหลได้ หรือมีการเปิดเผยความลับขององค์กร              2.) ผลงานอาจไม่เป็นไปตามที่ต้องการได้ หรือมีข้อผิดพลาดที่เราต้องมาเสียเวลานั่งเเก้ไขใหม่ อาจส่งผลเสียหายต่องานโดยรวมขององค์กรได้     In-house ( ผลิตเอง) หมายถึง การพัฒนางานภายในองค์กรเป็นหลัก ข้อดี: 1.) ควบคุมประสิทธิภาพเเละคุณภาพในการดําเนินงานได้ดีกว่า          2.) ได้งานตามที่ตนเองอยากได้ ข้อเสีย: 1.) ลงทุนเพิ่มมากขึ้น เเละใช้ทรัพยากรเพิ่ม             2.) ขาดความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการต้นทุน อ้างอ

C - foofprint

  คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์                 การส่งเสริมการใช้คาร์บอนฟุตพริ้นท์ ( Carbon Footprint) ของผลิตภัณฑ์ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์อย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นจากการใช้พลังงาน การเกษตร การพัฒนาและขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม การขนส่ง รวมถึงการตัดไม้ทำลายป่า และการทำลายสิ่งแวดล้อมในรูปแบบอื่นๆ ล้วนเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดภาวะโลกร้อน ซึ่งได้ส่งผลกระทบ ต่อการดำรงชีพของมนุษย์ สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น ดังนั้น การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพื่อลดภาวะโลกร้อน จึงเป็นหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ทั้งภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรมในฐานะผู้ผลิต ภาคบริการในฐานะผู้ขับเคลื่อนกิจกรรม รวมถึงภาคประชาชนในฐานะผู้บริโภค          การเลือกซื้อสินค้าหรือบริการที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อย จึงเป็นทางหนึ่ง ที่ผู้บริโภคจะมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก และยังเป็นกลไกทางการตลาด ในการกระตุ้นให้ผู้ผลิตพัฒนาสินค้า ที่ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามความต้องการของผู้บริโภคด้วย อย่างไรก็ตาม ผู้บริโภคจำเป็นต้องมีข้อมูลในการตัดสินใจเลือกซ

Ajax (Asynchronous Javascript)

   Ajax (Asynchronous JavaScript) คือเทคโนโลยีที่รวมเอาความสามารถของ JavaScript, XML, CSS, XHTML เอาไว้ด้วยกัน           เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าภาษา Java เป็นภาษาที่ใช้ในการสร้างโปรแกรมที่ใช้งานบน Internet โดยโปรแกรมที่สร้างขึ้นด้วย Java จะผ่านการคอมไพล์จากเครื่องหนึ่ง และนำไป Run บนระบบใด ๆ เช่น Windows, Mac หรือ Unix ในเครื่องอื่น ๆ ก็ได้ ซึ่งก่อนหน้านี้ทางไมโครซอฟท์ได้มีการทำงานร่วมกับ W3C(World Wide Web Consortium) หรือ องค์กรผู้กำหนดมาตรฐาน HTML เพื่อพัฒนามาตรฐานข้อมูลบนเว็บที่ให้ HTML สามารถแสดงข้อมูลที่ XML ได้เตรียมไว้ และทางไมโครซอฟท์เองก็ได้มีการเปิดตัว Browser ตั้งแต่ IE 4.0 เป็นต้นไป ที่สามารถเรียกดูและประมวลผลข้อมูลได้ และเป็นข้อกำหนดให้ Browser เวอร์ชันใหม่ของค่ายไมโครซอฟท์สนับสนุน XML โดยในปี ค.ศ. 2005 นั้นเองที่มีการนำเอาเทคโนโลยี XMLHttpRequest  มาใช้ใน Gmail และ GoogleMaps และต่อจากนั้นมา Ajax ก็ได้รับความนิยมมากขึ้นตลอดมา Why to use Ajax           เหตุผลส่วนใหญ่ที่เรานำ Ajax มาใช้ในการสร้างเว็บเพจนั้นก็เพื่อความสะดวกรวดเร็ว Ajax เป็นทางเลือกที่ดีทางหนึ

SOAP

SOAP ย่อมาจาก Simple Object Access Protocol คือโปรโตคอลมาตรฐานที่ใช้ใน Web Services เป็นโพรโทคอล ( Protocol ) ในการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันของ web services เป็นโพรโทคอลการสื่อสาร ในระดับ Application Layer หรือในระดับ แอปพลิเคชัน โดยอาศัยผ่านอินเทอร์เน็ตโพรโทคอล ซึ่งอาศัยรูปแบบของภาษา  XML ทำให้ Web services สามารถสื่อสารกันได้แม้ว่า จะอยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์คนละเพลตฟอร์ม หรือพัฒนาด้วยภาษาโปรแกรมที่ต่างกันก็ตาม และนิยมใช้ HTTP เป็นโปรโตคอลร่วมสำหรับส่งผ่านข้อมูลบนระบบอินเตอร์เน็ต   SOAP ทำงานร่วมกับโพรโตคอลได้หลายชนิด เช่น HTTP, SMTP, FTP, IIOP เป็นต้น      จากภาพ อธิบายได้ดังนี้    1. ผู้ขอใช้บริการ ( Service Requester ) สร้าง SOAP Message เพื่อเรียกใช้บริการของ เว็บเซอร์วิส แล้วส่งผ่านโพรโตคอลเครือข่ายไปยังผู้ให้บริการ ในที่นี้ SOAP message ที่รับ-ส่งไปมานั้น อยู่ในรูปแบบ XML และต้องมีการแปลกลับมาอยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมหรือเว็บเซิร์ฟเวอร์เข้าใจ โดยมีโปรแกรมที่ทำหน้าที่แปลความหมายของเอกสาร XML คือ XML Parser    2. ผู้ให้บริการ ( Service Provider ) ได้รับ SOAP Message