ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ธันวาคม, 2016

Porter’s competitive forces model

Porter’s competitive forces model         สภาวะแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจนั่น เราจําเป็นต้องมีการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก ที่จะทําให้เรานั่นหาทางที่จะพัฒนากิจการของเรา โดยอาศัยทฤษฎีของ Porter's Five force Model         ซึ่ง Porter's Five force Model นั่นคือ ปัจจัยหลักที่เป็นเเรงผลักดันทั้ง 5 หรือ ก็คือเป็นอุปสรรค์ในการทํากิจการ             เราจะมาทําการวิเคราะห์ปัจจัยในเเต่ละตัว โดย 1.  คู่แข่งรายใหม่   ให้เราพิจารณาว่ากิจการของเราเป็นหลักว่าคู่แข่งจะสามารถเข้ามาตีตลาดแข่งกับเราได้ง่ายหรือยาก  ถ้าเข้ามาได้ง่ายจนเกินไปหรือเข้ามาในอัตราที่มาก  จะทําให้เรามีอุปสรรคเพิ่มมากยิ่งขึ้นนั่นเอง 2.   สินค้าทดแทน   ให้เราพิจารณาว่ามีสินค้าทดแทนประเภทเดียวกันมากหรือน้อย  ดูต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนแปลงการใช้สินค้าปัจจุบัน ไปสู่การใช้สินค้าทดแทน 3.   อำนาจต่อรองของผู้จำหน่ายวัตถุดิบ   ถ้าเราต้องพึงพิงวัตถุดิบของเขาเท่านั้น  แสดงถึงเขาจะอยู่เหนือเรา   เพราะเราต้องง้อเขา   ซึ่งจำนวนผู้ขายหรือวัตถุดิบที่มีอยู่ ถ้ามีผู้ขายน้อยราย อำนาจต่อรองของผู้ขายจะสูง มีอิทธิพลเหนือผู้ซื้อทั้ง

Spiral model

Spiral model Spiral model คือ Software Development Process หนึ่งที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยเอาจุดแข็งของ Development Model อื่นที่ดีอยู่แล้วมาประยุกต์ ( Waterfall Mode) ใช้ตีค่าความเสี่ยงที่เกิดเพื่อจะได้ทราบว่าจุดใดมีความเสี่ยงมากน้อยขนาดไหน จะได้หาวิธีลดความเสี่ยง ซึ่งความเสี่ยงเป็นสาเหตุ ที่ทำให้การพัฒนาไม่ประสบความสำเร็จ Spiral Model เป็นโมเดลที่ถูกพัฒนาขึ้นจาก Waterfall Model ที่มีการทำงานเป็นขั้นตอนหากในขั้นตอนแรกวิเคราะห์ความต้องการไม่ดี ไม่ชัดเจน ความเสี่ยงที่ระบบจะถูกพัฒนาไม่ตรงตามความต้องการของลูกค้าสูง กระบวนการนี้จึงนำเอาข้อดีของ Prototype มาผสมผสานให้เกิดคามชัดเจนและมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงในทุกชั้น ทำให้โอกาสที่ระบบจะล้มเหลวมีน้อยลง ตัวอย่างของ Waterfall Model หรือ The Linear Model ภายหลังถูกปรับเปลี่ยนเป็นรูปเเบบจําลองบันไดเวียน( Spiral model) เพราะเเบบเก่านั่นติดข้อจํากัดคือ ถ้าพบว่าขั้นตอนไหนผิดพลาดเเล้วตอนเสร็จกระบวนการทั้งหมด จะเเก้ไขไม่ได้เลย ต้องจําเป็นที่จะต้องเริ่มรอบใหม่( Iteration) อีกครั้งนั่นเอง               Spiral model จะมีลักษณะแบบก้นหอยเป็นวงๆชั้นๆ

ERP & SAP

ระบบ ERP อีอาร์พี      ระบบ Enterprise Resource Planning หรือ ERP อีอาร์พี คือระบบจัดการทรัพยากรในองค์กร โดยระบบจะเชื่อมโยงข้อมูลในการปฏิบัติงานทุกส่วนในองค์กร เหมาะสำหรับองค์กรที่มีขนาดใหญ่และต้องการโปรแกรมควบคุมการจัดการที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนั้น ERP อีอาร์พี ยังสามารถเชื่อมโยงกับระบบภายนอกองค์กรได้ เช่น ลูกค้า , คู่ค้า , ตัวแทนจำหน่าย , ซัพพลายเออร์ , ฯลฯ เป็นต้น      หลักการก็คือ การบันทึกของมูลลงเพียงครั้งเดียวแต่คนในบริษัทสามารถเปิดออกมาดูได้จากหลายๆแผนก จะช่วยให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงาน ส่วนค่าใช้จ่ายของการลงทุนติดตั้งค่อนข้างสูง   ประโยชน์ที่องค์กรจะได้รับจากการนำระบบ   ERP อีอาร์พี ไปใช้มีดังนี้คือ ERP   ช่วยใน การเชื่อมโยงของข้อมูลในการทำงานแต่ละส่วนงาน ERP   ลดความซ้ำซ้อนสำหรับกระบวนการทำงานที่ยังมีความคาบเกี่ยวกัน ERP   สามารถมองเห็นภาพรวมของการทำงานทั้งองค์กรได้เป็นอย่างดี ERP   สามารถนำข้อมูลที่ได้จากระบบมาช่วยในการตัดสินใจได้      ถ้าจะกล่าวถึง Software ที่ใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรภายในองค์กรนั้น ทุกคนคงนึกถึง Software ประเภท ERP ซึ่งปัจจ