ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มกราคม, 2017

Overview of order fulfillment & Logistics

Overview of order fulfillment Order fulfillment หมายถึง การจัดหาสินค้าหรือบริการให้กับลูกค้าหลังได้รับการสั่งซื้อ ตรงตามเวลา Order fulfillment ถือเป็นส่วนหนึ่งของ back-office operation และสัมพันธ์อย่างมากกับส่วน front-office operation Back-office operation เช่น บัญชี สินค้าคงคลัง การจัดส่งเป็นต้น Front-office operation (หรือ customer-facing activities) เช่น การขายและโฆษณา เป็นต้น Overview of Logistics Logistics คือ กระบวนการในการวางแผน (planning) การนำไปใช้จริง (implement) การควบคุม (controlling) การไหล (flow) และ การจัดเก็บ (storage) ของสินค้าและงานบริการต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทั้งนี้รวมถึงสารสนเทศที่เกี่ยวข้องจากจุดเริ่มต้น (point of origin)ไปยังจุดที่เรียกใช้งาน (point of consumption) จุดมุ่งหมายก็เพื่อบรรลุถึงความต้องการของลูกค้า ตามนิยามนี้หมายรวมไปถึง inbound, outbound, internal และ external movement รวมไปถึงการส่งวัตถุดิบและสินค้ากลับคืน และ รวมไปถึง order fulfillment อีกด้วย ปัจจัยหลักของ order fulfillment คือ ทำการจัดส่งสินค้าหรืองานบริการให้ตรงเว

Cracking

คือการเจาะระบบข้อมูลเหมือนกัน แต่มีเจตนาที่จะสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลต้นฉบับโดยตรง ตัวอย่างก็คือเกมส์หรือโปรแกรมยอดนิยมอย่าง Photoshop ที่มี cracker มือดีมากมายคอย crack ข้อมูลให้ใช้งานตัวโปรแกรมได้ แม้เราจะไม่ได้จ่ายเงินก็ตาม Software cracking (เรียกว่า "ทำลาย" ในปี 1980) เป็นการปรับเปลี่ยนของซอฟต์แวร์ที่จะลบหรือปิดใช้งานคุณลักษณะซึ่งถือว่าเป็นที่ไม่พึงประสงค์โดยบุคคลที่แตกซอฟต์แวร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งคัดลอกคุณลักษณะการป้องกัน (รวมถึงการป้องกันการจัดการของซอฟต์แวร์ที่หมายเลขฮาร์ดแวร์ ที่สำคัญการตรวจสอบวันที่และตรวจสอบแผ่นดิสก์) หรือซอฟต์แวร์ annoyances เช่นหน้าจอถากถางและแอดแวร์ แตกหมายถึงวิธีการในการบรรลุซอฟต์แวร์แตกเช่นหมายเลขที่ถูกขโมยหรือเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพการกระทำของการแตกว่า บางส่วนของเครื่องมือเหล่านี้จะเรียกว่า Keygen, แพทช์หรือรถตักดิน Keygen เป็นเครื่องกำเนิดไฟฟ้าใบอนุญาตผลิตภัณฑ์ที่ทำด้วยมือที่มักจะมีความสามารถในการสร้างใบอนุญาตถูกต้องตามกฎหมายในชื่อของคุณเอง แพทช์เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ปรับเปลี่ยนรหัสเครื่องของโปรแกรมอื่น นี้มีประโยชน์สำหรั

Hacking

ทุกคนคงเคยได้ยินข่าวว่าเว็บไซต์ชื่อดังของประเทศไทยอย่างกระทรวงศึกษาธิการโดนเจาะระบบโดยhacker มือดีทั้งหลาย แต่การจะแฮ็กข้อมูลเข้าไปได้นั้นตัว hacker ต้องมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์เทียบเท่าหรือเหนือกว่าโปรแกรมเมอร์เลยทีเดียว… ว่าแต่ hacker คือใครกันล่ะ? hacker คือผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจในระบบคอมพิวเตอร์อย่างสูงมาก จนสามารถรู้ว่าระบบมีจุดโหว่ตรงไหน และวิธีการที่จะเข้าถึงจุดโหว่นั้นได้ เรามาดูคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่เหล่า hacker คุ้นเคยกันดีกว่าครับ 1. hacking (v.)      hacking คือการกระทำของ hacker โดยมีเจตนาที่จะลอกเลียนหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลต้นฉบับ การ hacking จะไม่มีการสร้างความเสียหายกับข้อมูลตัวหลักครับ เพียงแต่ต้องการเปลี่ยนแปลงข้อมูลนั้นให้แสดงผลตามใจตนเท่านั้น 2. cracking (n.)      cracking คือการเจาะระบบข้อมูลเหมือนกัน แต่มีเจตนาที่จะสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลต้นฉบับโดยตรง ตัวอย่างก็คือเกมส์หรือโปรแกรมยอดนิยมอย่าง Photoshop ที่มี cracker มือดีมากมายคอย crack ข้อมูลให้ใช้งานตัวโปรแกรมได้ แม้เราจะไม่ได้จ่ายเงินก็ตาม ข้อแตกต่างระหว่าง hacker กับ cracker: – hacker จะสนใจในระบบค

Phishing Pharming and other

Phishing (ฟิชชิง) การหลอกลวงทางอินเทอร์เน็ต เพื่อขอข้อมูลที่สำคัญเช่น รหัสผ่าน หรือหมายเลขบัตรเครดิต โดยการส่งข้อความผ่านทางอีเมลหรือเมสเซนเจอร์ ตัวอย่างของการฟิชชิง เช่น การบอกแก่ผู้รับปลายทางว่าเป็นธนาคารหรือบริษัทที่น่าเชื่อถือ และแจ้งว่ามีสาเหตุทำให้คุณต้องเข้าสู่ระบบและใส่ข้อมูลที่สำคัญใหม่ โดยเว็บไซต์ที่ลิงก์ไปนั้น มักจะมีหน้าตาคล้ายคลึงกับเว็บที่กล่าวถึง Pharming เป็นการที่ Hacker ได้เข้าไปโจมตี server ของเว็บ site ต่าง ๆ และทำการส่งคนเข้า web siteให้ไปที่ web site ปลอมแทน Pharming นั้นมักจะการทำโดยการเข้าไปเปลี่ยนhosts file ของเครื่องServerที่เป็นเหยื่อให้เปลี่ยนไปที่web site ปลอมหรือว่าจะใช้ exploit ส่งเข้าไปโดยใช้ช่องโหว่ของ DNS Server software เอง คำว่า Pharming มาจากคำว่า Phishing ที่มีความหมายใกล้เคียงกัน โดยทั้งคู่นั้นก็จะมีจุดมุ่งหมายเหมือนกันคือการเข้าไปขโมยข้อมูลข่าวสารต่าง ๆไม่ว่าจะเป็นการขโมย user-password, การขโมยบัตรเครดิตเป็นต้น แต่ว่า Pharming นั้นจะแตกต่างจากPhishing ตรงที่ Pharmingนั้นจะเน้นการเข้าไปโจมตีธุรกิจใหญ่ๆยกตัวอย่าง เช่น Hosting ที่ทำ e-commerce ห

Six Sigma

Six sigma เป็นการบริหารที่เกิดขึ้นปี พ.ศ. 2533 โดยกลุ่มวิศวกรของบริษัท Motorola ภายใต้การนำของ Dr.Mikel Harry ซึ่งได้เป็นผู้ริเริ่มแนวคิดนี้ และนำมาใช้กับการออกแบบผลิตภัณฑ์ของบริษัทจนประสบความสำเร็จอย่างสูง ต่อมาบริษัทต่าง ๆ ในสหรัฐอเมริกาจึงได้นำแนวคิดการบริหารจัดการแบบ Six sigma เข้ามาใช้ และประสบความสำเร็จสามารถลดค่าใช้จ่ายของบริษัทได้อย่างมาก Six sigma คืออะไร Six sigma เป็นการบริหารที่มุ่งเน้นในการลดความผิดพลาด ลดความสูญเปล่า และลดการแก้ไขตัวชิ้นงาน และสอนให้พนักงานรู้แนวทางในการทำธุรกิจอย่างมีหลักการ และจะไม่พยายามจัดการกับปัญหาแต่จะพยายามกำจัดปัญหาทิ้ง Six sigma จะดีที่สุดเมื่อทุกคนในองค์การร่วมมือกันตั้งแต่ CEO ไปจนถึงบุคลากรทั่วไปในองค์การ ซึ่ง Six sigma เป็นการรวมกันระหว่างอานุภาพแห่งคน (Power of people) และอานุภาพแห่งกระบวนการ (Process Power) ซึ่งถ้าตัว Six sigma มีค่าสูงหรือมีความผันแปรมากขึ้นเท่าไร ก็เปรียบเสมือนมีการทำข้อผิดพลาดมากขึ้นเท่านั้น ซึ่งโอกาสที่จะเกิดข้อผิดพลาดตัวนี้เรียกว่า DPMO (Defects Per Million Opportunities) Six sigma จึงถูกนำมาใช้เป็นชื่อเรียกข

WiMax

        WiMAX (World wide Interoperability for Microwave Access) เป็นเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูลดิจิทัลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนาเพื่อให้บริการบรอดแบนด์ไร้สาย (Broadband Wireless Access) โดยใช้คลื่นไมโครเวฟสามารถให้บริการด้วยรัศมีระยะไกล สามารถสื่อสารข้อมูลได้ทั้งแบบจุดต่อจุด (Point-to-point) ด้วยระดับความเร็วข้อมูล 72 Mbps ที่ระยะทาง 50  กิโลเมตร หรือแบบกระจายสัญญาณในลักษณะจากจุดเดียวไปยังหลายจุด  (Point-to-multipoint) ที่ระดับความเร็วข้อมูลเดียวกัน ได้พร้อมๆ กัน  โดยมีความสามารถรองรับการทำงานในแบบ Non-Line-of-Sight  หมายถึงสามารถทำงานได้แม้กระทั่งมีสิ่งกีดขวาง เช่น ต้นไม้ หรือ อาคารได้เป็นอย่างดี  แต่ด้วยระยะทางลดลงเหลือประมาณ  6  กิโลเมตร หรือแบบที่เครื่องลูกข่ายอยู่ในสภาวะเคลื่อนที่ (Mobile) ด้วยความเร็วของข้อมูลที่ลดหลั่นลงไป ด้วยความเร็วข้อมูลที่สูงกว่า 3G ถึงเกือบ 4 เท่า WiMAX จึงเป็นเทคโนโลยีที่เหมาะมากสำหรับการสื่อสารข้อมูล อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง โทรศัพท์ผ่านไอพี วีดิโอ และไอพีทีวี ด้วยระดับความเร็ว 72 Mbps ทำให้สามารถส่งวีดิโอคุณภาพดี แบบ MPEG4  ส่งผลให้ WiMAX สามารถช่วยให้ผู้ที่ใช้ง

Wide-CDMA

เหมือนกับเทคโนโลยีพื้นฐาน ที่อุตสาหกรรมโทรศัพท์ไร้สายทั้งหมดตกอยู่ในห้วงของคำย่อ นี่คือ ทำไมถึงมีค่ายิ่งจะต้องใช้เวลาสักสองสามนาที เพื่อปรับเป้าหมายให้ตรงกันไปยังระยะเริ่มต้น W-CDMA ย่อมาจาก Wideband Code Division Multiple Access และมันมีความน่าสนใจมากกว่าสิ่งที่ได้ฟัง เหมือนกับ Time Division Multiple Access (TDMA) W-CDMA เป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องที่สำคัญที่สุด ที่ทำให้โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ทำงาน W-CDMA คือ อะไรที่เรารู้ว่าเป็น Air Interface หรือ Access Technology ที่จริงแล้ว W-CDMA เป็นอุตสาหกรรมโทรศัพท์ไร้สาย ที่มีความก้าวหน้ามากที่สุดและมีความสลับซับซ้อนของ Air Interface ผู้วิจารณ์ส่วนใหญ่มีความเชื่อว่า W-CDMA จะเป็นเทคโนโลยีจะเสริมสร้างโครงสร้างพื้นฐานของโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 Air Interface ของ W-CDMA เป็นส่วนหนึ่งของสถาปัตยกรรมโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 ได้จัดเตรียมการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของผู้ใช้งานกับโครงข่ายหลัก WCDMA (วายแบนด์ซีดีเอ็มเอ - Wideband Code-Division Multiple Access) เป็นเทคโนโลยีซีดีเอ็มเอที่มีมาตรฐานตามข้อกำหนดของไอท

CDMA

CDMA คืออะไร ซีดีเอ็มเอ คือเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายด้วยระบบดิจิตอล CDMA ย่อมาจาก Code Division Multiple Access คือเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายด้วยระบบดิจิตอล ได้รับการคิดค้นและพัฒนาโดยบริษัท Qualcomm ซึ่งระบบซีดีเอ็มเอนี้ เป็นการสื่อสารกันด้วยสัญญาณที่เข้ารหัสไว้แล้ว ซึ่งจะมีเพียงเครื่องส่งและเครื่องรับเท่านั้นที่จะสามารถถอดรหัสสัญญาณดังกล่าวได้ หรือเปรียบเสมือนการพูดภาษาที่จะเข้าใจเฉพาะผู้ส่งและผู้รับเท่านั่น โดยจะทำหน้าที่แปลงคำพูดเป็นข้อมูลแบบดิจิตอล และส่งผ่านข้อมูลในรูปของสัญญาณวิทยุไปบนเครือข่ายไร้สาย     ข้อดีของระบบ CDMA    1.เนื่องจากระบบซีดีเอ็มเอ มีการใช้รหัสที่มีลักษณะเฉพาะในการระบุการโทรแต่ละครั้ง จึงสามารถรองรับผู้ใช้โทรศัพท์จำนวนมากในเวลาเดียวกัน โดยไม่เกิดปัญหาสัญญาณหลุด สัญญาณรบกวน หรือคลื่นแทรก     2.เทคโนโลยี CDMA คือ มีระบบการรักษาความปลอดภัยสูง ทำให้ไม่สามารถแทรกแซงสัญญาณเพื่อดักฟัง และยากต่อการ clone     3.โทรศัพท์ที่ใช้ระบบ CDMA จะมีคุณภาพของเสียงในการสนทนาชัดเจน เนื่องจากเป็นระบบดิจิตอล    4.CDMA ใช้วิธี Spreading signal คือการแปลงสัญญาณเสียงเป็น

NGN(Next Generation Network)

Next Generation Network (NGN) คืออะไร Next Generation Network (NGN) ถือว่าเป็นการปฏิวัติสถาปัตยกรรมโครงข่ายโทรคมนาคมหลัก (Telecommunications Core network) ตลอดจนกระบวนวิธีเข้าถึงโครงข่าย (Access Network) ซึ่งจะค่อยเริ่มแปรขบวนเปลี่ยนแปลงโครงข่ายโทรคมนาคมทั่วโลก จากระบบอนาลอกไปสู่โลกแห่งยุคดิจิทัล ใน 5-10 ปี ข้างหน้านี้ ย่อให้เข้าใจได้ง่ายว่า โครงข่ายโทรคมนาคมในอนาคต (NGN) จะไม่แยกเป็นโครงข่ายเทคโนโลยีนั้น เทคโนโลยีนี้ คือไม่เรียกว่านั่นคือ  โครงข่ายโทรศัพท์บ้าน นั่นคือโครงข่ายโทรศัพท์มือถือ นั่นคือโครงข่ายวิทยุสื่อสาร แต่จะเรียกกันรวมเป็นหนึ่งโครงข่ายโทรคมนาคม โดยข้อมูลที่ใช้สำหรับการสื่อสารทุกชนิดในโลก ทั้ง การสนทนาเสียง ภาพนิ่ง  ภาพเคลื่อนไหว ข้อมูล เป็นต้น จะถูกแปลงเป็นไฟล์ดิจิทัลในรูปชุดข้อมูลแพ็กเก็ต (Packet-Based Network) แบบ Internet Protocol (IP)  พูดให้เข้าใจง่ายขึ้นก็คือ ลักษณะการส่งข้อมูลการใช้งานอินเทอร์เน็ตในปัจจุบันนั่นเอง หรือเรียกกันทั่วไปว่าเป็นการสื่อสารแบบ IP เมื่อข้อมูลเป็นแพ็กเก็ต คนส่งและคนรับ รู้ธรรมเนียมการแปลข้อมูลให้เข้าใจตรงก

ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในองค์กรทั่วไป

โปรแกรมประยุกต์ที่นิยมใช้ในงานธุรกิจ โปรแกรมประยุกต์ที่นิยมใช้ในงานธุรกิจ ซอฟต์แวร์ประยุกต์(application software)        เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบันมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออกจำหน่ายมาก การประยุกต์งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลาย เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่มคือ ซอฟต์แวร์สำเร็จ และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์สำเร็จในปัจจุบันมีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ฯลฯ          4.1 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป       ซอฟแวร์ประยุกต์ทั่วไป (general purpose software) เป็นซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อนำไปประยุกต์ใช้กับงานให้เหมาะสมกับลักษณะงานของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนอ เป็นต้น               1) ซอฟต์แวร์ประมวลคำ(word processing software) เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้สำหรับการพิมพ์เอกสาร สามารถแก้ไข เพิ่ม แทรก ลบ และจัดรูปแบบเอกสารได้อย่างดี เอกสารที่พิมพ์ไว้จัดเป็นแฟ้มข้อมูล เรียกมาพิมพ์หรือแก้ไขใหม่ได้ การพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ก็มีรูปแบบ

Data Visualization Systems(DVS)

Data Visualization Systems(DVS)  Visualization คือ การจินตนาการ หรือสร้างภาพขึ้นในความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจสำหรับเรื่องที่จินตนาการยาก เข้าใจยาก วิธีการที่เป็นทางลัดก็คือการสร้าง ภาพ ให้เป็น บันไดความคิด ไปสู่ การใช้ความคิดอีกระดับ บันไดนี้จะช่วยตัดปริมาณข้อมูล ช่วยลดภาระการคำนวณหรือการนำไปผ่านหลากหลายกระบวนการความคิด เพื่อนำไปสู่คำตอบที่ต้องการได้โดยเร็วและถูกต้อง    Visualization System คือระบบ ซึ่งประกอบด้วยกระบวนการต่าง ๆ ที่ออกแบบมาเพื่อสร้าง รักษา นำไปใช้ และปรับปรุงทัศนสนเทศ เพื่อทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจ อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และได้ผลเป็นอย่างสูง Virtualization คืออะไร เมื่อกล่าวถึงเทคโนโลยี Virtualization Technology ซึ่งปัจจุบันเริ่มเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายนั้น ไม่ได้เป็นเทคโนโลยีใหม่เลย โดยในอดีตนั้น มีการใช้งานบนระบบขนาดใหญ่อยู่แล้ว แต่เมื่อมีผู้นำมาใช้งานบนระบบที่มีขนาดเล็กลง ก็เริ่มมีการใช้งานอย่างแพร่หลายมากขึ้น หลายบริษัทต่างพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตัวเองออกมาแข่งขันกันในตลาด ที่มีชื่อเสียงมากก็คือ VMWare อีกตัวที่พอจะรู้จักก็คือ Virtual

RFID

RFID        เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี ( RFID-Radio frequency identification)  คือเทคโนโลยีหนึ่งที่ใช้ในการระบุสิ่งต่างๆ โดยอาศัยคลื่นวิทยุ ซึ่งต่างจากเทคโนโลยีอื่นๆ เช่น บาร์โค้ดที่อาศัยคลื่นแสง หรือการสแกนลายนิ้วมือ เป็นต้น               คลื่นวิทยุกับเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี( Radio Frequency and RFID)  จากที่กล่าวในขั้นต้นว่า เทคโนโลนีอาร์เอฟไอดี( RFID)  อาศัยคลื่นวิทยุในการทำงาน ดังนั้นเมื่อพูดถึงเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี( RFID)  สิ่งที่ขาดไม่ได้ที่จะต้องกลางถึงคือคลื่นวิทยุ   วัสดุที่นำมาใช้กับคลื่นวิทยุย่อมมีผลต่อการใช้งานอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ในวัสดุประเภทที่คลื่นวิทยุสามารถผ่านได้สะดวกโดยไม่มีการสุญเสียพลังงานใด วัสดุเหล่านั้นเรียกว่า  RF-lucent หรือ  RF-friendly               หากนำ  RFID  มาใช้กับวัสดุเหล่านี้จะมีผลเสียต่อการใช้งาน อย่างไรก็ตามยังมีวัสดุบางประเภทที่เป็นอุปสรรคในการนำ  RFID  มาใช้งาน วัสดุประเภทแรกเรียกว่า  RF-opaque  วัสดุประเภทนี้จะหักเหคลื่นวิทยุหรือทำให้คลื่นวิทยุกระจัดกระจายออกไป ส่วนวัสดุอีกประเภทเรียกว่า  RF-absorbent  คลื่นวิทยุสามารถที่จะผ่านวัสดุประเภทนี้ได้

4 Properties Of Data warehouse

Data Warehouse   คือ ที่เก็บข้อมูลที่มีประโยชน์ มีการจัดสรร การจัดเก็บ มีหลายมิติ( Multidimensional)  เช่น ช่วงเวลา ตรงนี้ก็ต้องตรงกับ  Business Logic  และวัตถุประสงค์ของแอพพลิเคชั่นที่จะนำมาใช้ เพื่อให้สอดคล้อง ดังนั้นจึงมักมีการจัดเก็บเป็นมิติต่าง ๆ มากมาย            คุณสมบัติของระบบฐานข้อมูล  Data warehouse  ที่แตกต่างจากฐานข้อมูลทั่วๆไป จะประกอบไปด้วย  4 คุณสมบัติดังนี้ 1. Subject Oriented  คือ คลังข้อมูลจะถูกสร้างจากหัวข้อหลักทางธุรกิจที่เน้นเนื้อหาที่สนใจ เช่น ลูกค้า( Customer)  ผลิตภัณฑ์ ( Product)  ยอดขาย ( Sales)  ใบกำกับภาษีลูกค้า ( Customer Invoicing)  การควบคุมสต๊อก ( Stock Control)  และการขายผลิตภัณฑ์ ( Product Sales)  สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงความต้องการการจัดเก็บเพื่อใช้ในการสนับสนุนการตัดสินใจ การวิเคราะห์ และดาต้ามายนิง ( Data Mining) 2. Integrated  คือ ข้อมูลที่นำมาใช้ประกอบการตัดสินใจเป็นได้ทั้งข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภายนอกและแหล่งภายใน การจัดเก็บข้อมูลอยู่ในรูปแบบแตกต่างกัน ( Different Formats)  หรือมาจากความแตกต่างของแพล็ตฟอร์ม แต่นำมาสร้างเป็นฐานข้อมูลที่สอ

Tacit Knowledge and Explicit Knowledge

  Tacit knowledge   ( ความรู้ที่ไม่ปรากฏชัดเจน )  คือความรู้ที่ไม่สามารถเขียนหรืออธิบายได้ การถ่ายโอนความรู้ประเภทนี้ทำได้ยาก จำเป็นต้องอาศัยการเรียนรู้จากการกระทำ ฝึกฝน (อยู่ในสมอง เชื่อมโยงกับประสบการณ์ ความเชื่อ ค่านิยม ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาได้ทั้งหมด)     Explicit knowledge  ( ความรู้ที่ปรากฏชัดเจน )  คือความรู้ที่สามารถเขียนหรืออธิบายออกมาเป็นตัวอักษร ฟังก์ชั่นหรือสมการได้ (อยู่ในตำรา เอกสาร วารสาร คู่มือ คำอธิบาย คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ฐานข้อมูล)